วันนี้เราจะมาพูดถึงเหตุการณ์การ ย้อนรอยวิกฤตต้มยำกุ้ง ให้ทุกคนได้ฟังกัน เหตุการณ์ค่าเงินบาทของไทยอ่อนตัวลงอย่างรุนแรง และเงินทุนสำรองของประเทศไทย ก็ลดลงไปถึง 1.3 ล้านล้านบาท หลายคนก็ได้มีความกังวลกันว่า อาจจะเป็นการวนลูปกลับมาใหม่ ของวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งอีกครั้งหรือเปล่า ขอขอบคุณผู้ใหญ่ใจดี คาสิโนออนไลน์ วันนี้แอดมินก็เลยจะพาทุกคน ไปย้อนรอยกลับเหตุการณ์ในครั้งประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับต้มยำกุ้งในปีสี่ศูนย์ ที่ได้นำพาความหายนะ มาสู่ประเทศไทยให้ได้ฟังกันอีกครั้งหนึ่งแบบชัดชัด และรวมไปถึงความเสี่ยง ที่จะทำให้เกิดวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง ให้ฟังในเหตุการณ์ปัจจุบันแบบชัดชัดกันอีกด้วย ก่อนอื่นเราต้องมาทำความเข้าใจ กับคำว่าวิกฤติต้มยำกุ้ง ที่ไม่ใช่ชื่ออาหารของคนไทยกันก่อน วิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งมันคือการแตกออก ของฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ อย่าลืมกลับไปติดตาม Shopee ปลดคนออก

🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪

ย้อนรอยวิกฤตต้มยำกุ้ง
หายนะทางการเงินครั้งใหญ่

ย้อนรอยวิกฤตต้มยำกุ้ง

นำพาความหายนะมา

เป็นการแตกออกของฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ ในประเทศไทย ซึ่งมันเกิดได้จากสองนโยบายหลัก ของรัฐบาลในสมัยนั้น นั่นก็คือ นโยบายการตรึงค่าเงินบาท  ในช่วงระยะเวลาเมื่อ 30 ปีที่แล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศ ที่เรียกได้ว่าเจริญก้าวหน้าเป็นอย่างมาก เพราะว่าได้มีหลากหลายประเทศ ย้ายถิ่นฐานโรงงานการผลิต มาตั้งในประเทศไทย และการส่งออกของประเทศไทย ก็รุ่งเรืองเป็นอย่างมากสร้างรายได้

ให้กับประเทศไทยอย่างมหาศาลเลยทีเดียว เพราะเศรษฐกิจมันดีมากๆ เข้าค่าสกุลเงินบาทก็เลยเป็นค่าสกุลเงิน ที่ใครใครก็อยากได้ มันก็เลยได้มีการสะสม และตุนเงินบาทเอาไว้ เพราะมีความรู้สึกว่ามันเป็นสกุลเงิน ที่มีความมั่นคงสูงเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นเมื่อเข้ากลไกตลาดทั่วไป อะไรก็ตามที่มีคนอยากได้เยอะเยอะ มันก็จะมีราคาที่แพงขึ้น ตามค่าอุปสงค์อุปทาน ตามหลักของการเงินทั่วไปในโลกปัจจุบัน

ย้อนรอยวิกฤตต้มยำกุ้ง
นายกยอมลาออก

ค่าเงินบาทในตอนนั้นก็เลยมี ราคาแพงหรือที่เรียกว่า เงินบาทแข็งตัวนั้นเอง ซึ่งในตอนนั้นเงินบาทมันแข็งตัวไปถึง 15 ถึง 20 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐเลยทีเดียว การที่เงินบาทแข็งค่า มันเป็นผลดีต่อการนำเข้าเองก็จริง  แต่มันผิดกับการส่งออกอย่างมาก และในประเทศไทยที่มีเศรษฐกิจหลัก ที่คือการส่งออกแล้ว มันได้ทำให้ผู้ประกอบการหลายคน ได้เดือดร้อนกันไปต่ำตามกัน

ทำไมจึงเป็นแบบนั้น เพราะว่าถ้าค่าเงินบาทมันแข็งค่าขึ้น เท่ากับว่าสินค้าในเวลาที่เราส่งออก มันก็จะแพงขึ้น  เพราะว่าเวลาขายแล้วกลับมาเป็นค่าเงินไทย เวลาแลกกลับมามันจะน้อยลง พอสินค้าส่งออกของไทยมันแพงขึ้น ก็ทำให้สินค้าของไทยมันไปแข่งขัน ด้านการส่งออก กับประเทศอื่นยากนั่นเองค่ะ รัฐบาลก็เลยมีการแก้ไขปัญหานี้ โดยการตรึงค่าเงินบาทไว้ที่ 25 บาทต่อ 1 ดอลล่าร์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ผิดมหันต์

🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪 🥪